|
|
|
|
|
|
การปรับฟอร์มให้รองรับจำนวนบรรทัดได้มากขึ้น
สามารถทำได้ 3 วิธี ดังนี้ :
|
|
|
|
|
|
วิธีที่
1
: ลดระยะห่างระหว่างบรรทัด
|
|
|
|
|
โดยการเลื่อน
ตัวแปร ที่อยู่เหนือแถบ
Detail ขึ้นไป
ให้ขอบด้านบนของตัวแปรไปสอดอยู่ใต้แถบ
Group Header
|
|
|
|
แล้วดึงแถบ
Detail ตามขึ้นไป
จะทำให้ระยะห่างระหว่างบรรทัดลดลงได้
|
|
|
|
|
|
|
|
(1.1) |
ให้กดแป้นคีย์บอร์ด Shift
ค้างไว้ |
|
และไล่คลิก ตัวแปร
ที่อยู่เหนือแถบ Detail
ให้ขึ้นจุดดำ |
|
แล้วปล่อยแป้นคีย์บอร์ด Shift
|
(1.2) |
กดแป้นคีย์บอร์ด ลูกศรขึ้น
สัก 3-4 ครั้ง
ตัวแปรจะขยับขึ้น |
(1.3) |
จากนั้น ให้ลากแถบ Detail
ขึ้นไปชิดติดกับตัวแปร |
|
- โดยคลิกที่แถบ Detail
กดเมาส์แช่ไว้
(จะขึ้นเป็นแถบสีดำ) |
|
-
จากนั้น
ให้ลากแถบ
Detail ขึ้นไปชิดกับตัวแปรได้เลย |
(1.4) |
เสร็จแล้ว
ให้ Save
แล้วกดแป้นคีย์บอร์ด Esc
ออกไป |
|
จากนั้น
ให้ลอง Preview ดู |
|
หมายเหตุ
: แถบ Page Header ควรติดกับแถบ
Group Header |
และแถบ
Detail ควรติดกับแถบ Group Footer (ไม่ควรมีพื้นที่ว่าง) |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
>>
ดูวิดีโอ--แนะนำวิธีเลื่อนตัวแปร
(เพื่อเพิ่มจำนวนบรรทัด)
|
|
|
|
|
|
วิธีที่
2
: เปลี่ยน font ให้เป็น
Microsoft Sans Serif
|
|
|
|
|
รูปแบบ
font ของ
Microsoft Sans Serif จะเป็น font
ที่เล็กและช่องระหว่างตัวอักษรจะไม่กินพื้นที่มาก
|
|
|
|
ซึ่งจะทำให้สามารถรับรองจำนวนบรรทัดต่อ
1 หน้าได้มากขึ้น
|
|
|
|
|
|
|
|
(2.1) |
ให้กดแป้นคีย์บอร์ด Shift
ค้างไว้ |
|
และไล่คลิก ตัวแปร
ที่อยู่เหนือแถบ Detail
ให้ขึ้นจุดดำ |
|
แล้วปล่อยแป้นคีย์บอร์ด Shift
|
(2.2) |
คลิกที่
Format |
(2.3) |
คลิกที่
Font |
(2.4) |
คลิกที่
Microsoft
Sans Serif |
(2.5) |
คลิกเลือก
Size
ตามต้องการ เช่น 8, 9, 10,
... |
|
โดยอาจจะเลือก
Size เป็น 8 เพื่อลองดูก่อน |
(2.6) |
คลิกปุ่ม OK |
(2.7) |
เสร็จแล้ว
ให้ Save
แล้วกดแป้นคีย์บอร์ด Esc
ออกไป |
|
จากนั้น
ให้ลอง Preview ดู |
|
|
|
|
|
|
|
|
วิธีที่ 3
:
ลดพื้นที่--ส่วนหัว
และ ส่วนท้าย
|
|
|
|
|
การลดพื้นที่--ส่วนหัว
(Page Header) และ ส่วนท้าย (Page Footer)
จะทำให้พื้นที่ส่วนที่เหลือถูกปัดเข้า
ส่วนรายการ (Detail)
|
|
|
|
โดยอัตโนมัติ
ซึ่งโปรแกรมจะคำนวณจาก
ขนาดกระดาษที่ตั้งไว้ใน File
\ Print Setup ของแบบฟอร์ม
|
|
|
|
เช่น
ใช้กระดาษต่อเนื่อง 8.5 x 11
หรือ 9x11 นิ้ว ให้ตั้ง Paper Size
เป็น Letter
|
|
|
|
โปรแกรมจะรับทราบว่ากระดาษมีความยาว
11 นิ้ว ถ้า ส่วนหัว (Page Header) และ
ส่วนท้าย (Page Footer) กินพื้นที่อย่างละ
3 นิ้ว
|
|
|
|
พื้นที่ส่วนที่เหลือถูกปัดเข้า
ส่วนรายการ (Detail)
อัตโนมัติ ซึ่งก็คือ 11-3-3 = 5
นิ้ว
|
|
|
|
|
|
|
|
(3.1) |
ให้ลดพื้นที่-ส่วนหัว
(Page Header) |
|
-
โดยตรวจสอบดูว่า ข้อความ
หรือ ตัวแปร ใด
ที่ไม่ต้องการ |
|
ให้ลบทิ้งไป
จะได้มีพื้นที่ขยับ Page
Header ขึ้นไปได้ |
|
พยายามให้ ส่วนหัว (Page
Header)
กินพื้นที่น้อยที่สุด |
|
เท่าที่จะทำได้
จะทำให้ ส่วน รายการ (Detail)
รองรับ |
|
บรรทัดได้มากขึ้นเท่านั้น |
>>
วิธีปรับเลื่อนเส้นตาราง |
|
|
(3.2) |
ให้ลดพื้นที่-ส่วนท้าย
(Page Footer) |
|
-
โดยตรวจสอบดูว่า ข้อความ
หรือ ตัวแปร ใด
ที่ไม่ต้องการ |
|
ให้ลบทิ้งไป
จะได้มีพื้นที่ขยับ Page
Footer ขึ้นไปได้ |
|
พยายามให้ ส่วนท้าย (Page
Footer)
กินพื้นที่น้อยที่สุด |
|
เท่าที่จะทำได้
จะทำให้ ส่วน รายการ (Detail)
รองรับ |
|
บรรทัดได้มากขึ้นเท่านั้น |
|
|
(3.3) |
ส่วนรายการ
(Detail) -->ไม่ต้องขยายพื้นที่
โปรแกรมจะ |
|
คำนวณจากขนาดกระดาษที่ตั้งไว้ให้อัตโนมัติ
ดังนั้น ตัวแปร |
|
ในส่วนของ
Detail ควรอยู่ในตำแหน่ง--ตามภาพ |
|
|
(3.4) |
เสร็จแล้ว
ให้ Save
แล้วกดแป้นคีย์บอร์ด Esc
ออกไป |
|
จากนั้น
ให้ลอง Preview ดู |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
วิธีดังกล่าวข้างต้น
สามารถใช้ผสมผสานกันได้
ทั้ง 3 วิธี |
ไม่จำเป็นต้องเลือกวิธีใดวิธีหนึ่ง
ให้ดูตามความเหมาะสม |
|
กรณีที่แต่งเสียหรือเละ
สามารถลบทิ้ง |
แล้วก็อปปี้ออกมาใหม่
และ ปรับแต่งใหม่ได้ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|