|
ฟังก์ชั่น
: ใบหักที่จ่าย Auto |
|
|
|
|
สำหรับ
รุ่น
2.16 ได้เพิ่มปุ่มฟังก์ชั่น
"ใบหักที่จ่าย Auto" |
|
เพื่อช่วยลดความซ้ำซ้อนในการบันทึกข้อมูลใบหัก
ณ ที่จ่าย (50 ทวิ) |
|
แบ่งเป็น
3 ขั้นตอน ดังต่อไปนี้ : |
|
|
|
ขั้นที่
1 :
บันทึกค่าใช้จ่ายที่มีการหักภาษี
ณ ที่จ่าย |
|
|
เช่น
จ่ายชำระค่าโทรศัพท์ 2,500
บ. ที่มีการหักภาษี
ณ ที่จ่าย |
|
|
-
ให้บันทึกข้อมูลที่เมนู
ซื้อ / ค่าใช้จ่ายอื่นๆ |
|
|
-
กดแป้นคีย์บอร์ด F2
เพื่อเพิ่มเอกสาร
แล้วบันทึกข้อมูลตามช่องต่างๆ |
|
|
1.1)
ที่ช่อง หัก ณ : ให้
ดับเบิ้ลคลิก หรือ
กดแป้นคีย์บอร์ด
F3 |
|
|
1.2)
ใส่รายละเอียดการหักภาษี
ณ ที่จ่าย |
|
|
เช่น
ค่าเช่า 500 บ. หัก ณ
ที่จ่าย 5% --> ให้บันทึกเป็น
5+ |
|
|
ค่าบริการ 2,000 บ.
หัก ณ
ที่จ่าย 3% --> ให้บันทึกเป็น
3+ |
|
|
(มูลค่าภาษีที่หัก
โปรแกรมจะคำนวณให้อัตโนมัติ) |
|
|
1.3)
เสร็จแล้ว ให้คลิกปุ่ม ออก |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
-
จากนั้น
ใส่รายละเอียดประเภทเงินที่จ่าย และรายละเอียดต่างๆให้เรียบร้อย |
|
|
- เสร็จแล้ว
ให้กดแป้นคีย์บอร์ด
F9 เพื่อ Save |
|
|
|
|
ขั้นที่
2 : โอนข้อมูลเข้าสู่ ใบหัก
ณ ที่จ่าย (50 ทวิ) |
|
|
2.1)
คลิกปุ่ม
ใบหักที่จ่าย Auto |
|
|
2.2)
ระบุประเภทเงินได้ที่จ่ายและตรวจสอบ
รายละเอียดของการหักภาษี
ณ ที่จ่าย |
|
|
2.3)
เสร็จแล้ว ให้คลิกปุ่ม
เริ่มบันทึก |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
-
โปรแกรมจะก็อปปี้รายละเอียดภาษีหัก
ณ ที่จ่าย
เข้าสู่เมนู ใบหัก ณ
ที่จ่าย
ให้อัตโนมัติ |
|
|
|
|
ขั้นที่
3 : ตรวจสอบ และ
พิมพ์ใบหัก ณ ที่จ่าย (50
ทวิ) |
|
|
3.1)
ให้คลิกที่เมนู ใบหัก
ณ ที่จ่าย |
|
|
3.2)
จะพบว่าโปรแกรมก็อปปี้รายละเอียดการหัก
ณ ที่จ่ายเข้ามาให้ |
|
|
และ
อ้างถึงเอกสารต้นฉบับของการบันทึกจ่าย |
|
|
กรณีต้องการแก้ไขรายละเอียดเพิ่มเติม |
|
|
- ให้กดแป้น F6
(เพื่อแก้ไขข้อมูล) |
|
|
- พิมพ์แก้ไข/เพิ่มเติม
ข้อมูลได้ตามต้องการ |
|
|
- พิมพ์เสร็จแต่ละช่อง ให้กดแป้น
Enter (เพื่อให้โปรแกรมรับค่าใหม่) |
|
|
- เสร็จแล้ว
ให้กดแป้น
F9 (เพื่อ Save) |
|
|
3.3)
กรณีต้องการดูรูปแบบการพิมพ์ทางหน้าจอ |
|
|
-
ให้คลิก ปุ่ม
Preview |
|
|
3.4)
โปรแกรมจะแสดงข้อมูลให้เห็นทางหน้าจอ |
|
|
3.5)
ถ้าต้องการพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์
ให้สั่งพิมพ์ได้เลย |
|
|
|
|
|
|
|